วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552

X.25 SIDN FTTH

X.25

X.25

X.25 เป็นมาตรฐานการติดต่อที่ยอมรับกันระหว่างประเทศซึ่ง (ITU-T) เป็น ส่วนหนึ่งของระบบโดยเป็นมาตรฐานในระดับท้องถิ่นและอธิบายได้ถึงการ ติดต่ออย่างไรระหว่างตัวผู้ใช้ และอุปกรณ์ที่ใช้รวมทั้งการติดตั้ง. X.25 เป็นระบบที่ถูกออกแบบมาให้ใช้ได้ผลดีโดยไม่คำนึงระบบการติดต่อกับเน๊ตเวิค. ดังนั้นมันจึงถูกใช้ในเน๊ตเวิคแบบ packet-switched (PSNs)โดยมีแคร์เรียเป็นหลัก อย่างเช่นบริษัทโทรศัพท์ต่างๆ. ผู้ใช้บริการจะถูกคิดเงินในราคาที่เป็นพื้นฐานเท่าที่ใช้จริง. มาตรฐานของรูปแบบ X.25 จะอยู่ในรูปแบบของแคร์เรียมาตั้งแต่ปี 1970. ซึ่งในเวลานั้น,ยังมีความต้องการระบบสื่อสารในระดับท้องถิ่นอยู่(WAN)จึง ต้องมีการเตรียมการให้ระบบสามารถรองรับได้กับระบบ data networks(PDNs). X.25 คือตอนนี้ยังถูกดำเนินการโดย ITU-T ให้เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ.

:: อระบบ X.25 ประกอบไปด้วย 3ส่วนคือ Data terminal equipment(DTE),Data circuit-terminating(DCE),และ packet-switching exchange(PSE) . Data terminal equipment คือส่วนท้ายสุดของระบบการติดต่อ X.25 โดยปกติได้แก่ Terminal,PC,หรือ host ของnetwork และตำแหน่งของผู้รับบริการ.DCE เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่ออย่างเช่น Modem และ Packet switches ซึ่งนั้นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมโยงระหว่าง DTE และ PSE และยังเป็นตำแหน่งในการสร้างแคร์เรียด้วย.PSEs เป็นสวิตช์ที่ประกอบด้วยแคร์เรียเน็ตเวิคขนาดใหญ่.โดยใช้ส่งข้อมูลจาก DTE หนึ่งไปยังตัวอื่นๆด้วย X.25 ดังรูปที่17-1 เป็นส่วนประกอบทั้ง3 ประเภทของระบบ X.25

Figure 17-1: DTEs, DCEs, and PSEs Make Up an X.25 Network

ข้อตกลงของการติดตั้ง X.25 ::

ข้อตกลงในการติดตั้ง X.25 เมื่ออุปกรณ์ DTE หนึ่งตัวจะทำการติดต่อกับตัวอื่นโดยจะทำการร้องขอต่อส่วนสื่อสาร. โดยอุปกรณ์ DTE จะได้รับการตอบรับข้อตกลงหรือยกเลิกจากการขอเชื่อมโยง.ถ้าการตอบรับเป็นการตกลง ระบบของทั้งสองจะส่งข้อมูลเป็นแบบ Full Duplex.

วงวงจร ในอุดมคติจะเป็นการเชื่อมโยงแบบโลจิกซึ่งจะทำให้อุปกรณ์ทั้ง 2 มีความเสถียร. วงจรในอุดมคติจะไม่ระบุตำแหน่งของสัญญาณโลจิก,เส้นทางการไหลของสัญญาณจาก DTE หนึ่งไปยังตัวอื่นๆโดยผ่านระบบ X.25 . ด้านกายภาพ,การเชื่อมต่อสามารถทำได้โดยผ่านNode ที่อยู่ระหว่างทาง เช่น อุปกรณ์ DCE และ PSEs. วงจรแบบมัลติเปิลชนิดธรรมดา(การเชื่อมต่อทางโลจิก) สามารถเชื่อมต่อหลายๆวงจรให้ไปยังวงจรแบบซิงเกิล(การเชื่อมต่อทางโลจิก)ได้. และก็ทำการแยกออกมาเป็นหลายๆวงจรเมื่อข้อมูลถึงปลายทาง ดังรูปที่ 17-3 สัญญาณทั้ง 4 แชนแนลสามารถนำเข้ามาไว้ยังวงจร แชนแนลเดียวได้

Figure 17-3: Virtual Circuits Can Be Multiplexed onto a Single Physical Circuit
ชนิดของวงจร x.25 ในอุดมคติ คือ switched และ permanent. วงจร switched (SVCs)เป็นการเชื่อมต่อชั่วคราวใช้สำหรับถ่ายข้อมูลเป็นช่วงๆ ซึ่งวงจรที่ใช้ switched ได้แก่วงจร DTE ที่มี 2แหล่ง, maintain และTerminate โดยอุปกรณ์แต่ละอย่างจำเป็นต้องใช้เพื่อการสื่อสารกัน. วงจร permanent (PVCs) เป็นการเชื่อมต่อแบบถาวรใช้สำหรับถ่ายข้อมูลที่การถ่ายโอนการบ่อยๆ ตัวPVCs ไม่ต้องการตัวสร้างและตัว Terminate.ดังนั้นทำให้ตัว DTEทั้งหลายสามารถที่เริ่มทำการส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอเพราะตัวสร้าง ทำงานตลอดเวลา
การทำงานพื้นฐานของวงจร X.25 ในอุดมคติจะเริ่มเมื่ออุปกรณ์ DTE จำเพาะต้องการใช้(ในหัวข้อpacket)และมีการส่งpacket ไปยังอุปกรณ์ DCE และในตรงจุดนั้นเองอุปกรณ์ DCE จะตรวจสอบ header packet และแจกแจงpacket โดยเลือกวงจรในอุดมคติที่จะใช้ และเมื่อส่ง packet แล้วจะปิด PSE ในเส้นทางของวงจรในอุดมคติไปด้วย. PSEs(switches)จะทำการขนถ่ายไปยังnode อื่นที่อยู่ในระหว่างทางโดยจะเลือก switches หรือเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ DCE.
เมื่อมีการขนถ่ายโดยมีการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ DCE ,ที่ส่วนหัวของpacket จะมีการตรวจสอบและหาตำแหล่งปลายทางส่วนตัวpacket จะถูกส่งไปยัง DTE ปลายทาง.ถ้ามีการสื่อสารที่มากเกินตัว SVC และอุปกรณ์ใกล้เคียงจะเพิ่มข้อมูลในการส่งเข้าไปในวงจร

โครงรผัง ของ โปรโตคอล X.25 จาก 3 เลเยอร์ล่างสุดของโมดูล OSI ชนิดของเลเยอร์ที่ใช้ใน X.25 ประกอบด้วย Packet-Layer protocol(PLP),Link access Procedure,Balanced(LAPB)และการติดต่อแบบอนุกรมอื่นๆเช่น(EIA/TIA-232,EIA /TIA-449,EIA 530 และG.703)จากรูปที่ 17-4 ผังการสื่อสารของ โปรโตคอล X.25 ที่อยู่ใน ส่วนของโมดูล OSI

Figure 17-4: Key X.25 Protocols Map to the Three Lower Layers of the OSI Reference Model

:: แพ็คเจตและ เลเยอร์โปรโตคอล ::

PLP ในระบบเลเยอร์เน็ตเวิค X.25 ตัว PLP จะเป็นตัวควบคุมแลกเปลี่ยนpacket ระหว่างอุปกรณ์ DTE กับวงจรในอุดมคติ. ตัวPLP สามารถทำงานได้สูงกว่าระดับ Logical link control 2(LLC2) อันได้แก่ ระบบ Lan และ ISDN โดยทำงานในระดับ Link Access Procedure on the D channel (LAPD)
การทำงานของ PLP มีการทำงาน 5 ลักษณ์ คือ call setup,data transfer,idle,call clearing,และ restarting
Call setup mode จะใช้กันระหว่าง SVCs กับอุปกรณ์ DTE. ตัว PLP จะใช้ใน ตำแหน่งX.121 ในการ ติดตั้งวงจร.ตัว PLP จะทำงานในวงจรพื้นฐานโดยจะเลือกวงจรหลักหนึ่งวงจรที่ใช้ในการเรียก call setup mode ส่วนตัวอื่นจะเป็น data transfer mode. ในวิธีนี้จะใช้กับ SVCs เท่านั้นไม่รวม PVCs.

ISDN

ISDN

ISDN (Integrated Service Digital Network) คือบริการสื่อสารโทรคมนาคมระบบดิจิตอลที่สามารถรับส่งข้อมูลทั้งในระบบภาพ เสียง และข้อมูล ด้วยความเร็ว 128 Kbps ขึ้นไป ข้อดีของการใช้ ISDN คือความน่าเชื่อถือในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์สื่อสารของผู้ใช้บริการไม่ต้องมีการแปลงสัญญาณ (Conversion) ทำให้ความเพี้ยนของสัญญาณมีน้อยมาก ตลอดจนสิ่งรบกวน (Noise) ก็จะลดลงด้วย ทำให้ข้อมูลข่าวสารที่รับส่งในโครงข่าย ISDN มีความถูกต้องไว้ใจได้สูงกว่าแบบเดิม

ลักษณะการใช้งานเหมือนกับการหมุนโทรศัพท์ธรรมดาปกติ คือเสียครั้งละ 3 บาท ก่อนจะใช้คุณต้องหมุนโทรศัพท์ไปที่เบอร์ของ ISP ที่เป็น ISDN ด้วยจึงจะได้ความเร็วของ ISDN ตามที่กำหนด

รูปแบบการใช้บริการ ISDN มี 2 แบบ คือ

1. แบบ BRI (Basic Rate Interface) หรือทางองค์การโทรศัพท์เขาเรียกว่า BAI (Basic Access Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการด้วยคู่สายโทรศัพท์ธรรมดาจากชุมสาย ISDN จนถึง อุปกรณ์ปลายทาง คู่สายเพียง 1 คู่สาย สามารถที่จะรองรับอุปกรณ์ปลายทางชนิดต่าง ๆ ได้สูงสูด 8 อุปกรณ์และสามารถใช้งานได้ 2 อุปกรณ์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เนื่องจากภายในคู่สาย ISDN แบบ BRI นี้จะประกอบไปด้วยช่องสัญญาณ 2 ช่องโดยแต่ละช่องสามารถให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุดถึง 128 Kbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง

2. แบบ PRI (Primary Rate Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการโดยการวางเคเบิลแบบไฟเบอร์ออฟติคไปยังตู้สาขาแบบ ISDN (ISDN PABX) ของผู้เช่าเคเบิลเส้นหนึ่งจะช่องสัญญาณอยู่ 30 ช่อง แต่ละช่องให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ซึ่งแต่ละช่องสามารถที่จะรวมสัญญาณเข้าด้วยกันทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุด คือ 2.048 Mbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่

Proxy Server ด้วยรูปแบบข้างต้น ระบบของท่านจะต้องทำการติดตั้ง Proxy Serverเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อไปยัง Internet โดย Webpage ต่างๆ ที่ถูกเรียกขึ้นมาใช้จะถูกเก็บไว้ใน Proxy Server และเมื่อ User มีการเรียกใช้ Webpage นั้น Webpageดังกล่าวจะปรากฏขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาถึงข้อมูลจาก Internet มาใหม่

Mail Server การมี mail server ภายในองค์กรเอง เพื่อความคล่องตัวในการจัดการกับ mailbox ของผู้ใช้แต่ละคน โดยสามารถเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ e-mai lภายในองค์กรของท่าน และเนื่องจากระบบท่านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา การรับส่ง mail จึงสามารถทำได้ทันที

DNS Server สำหรับดูแลอินเทอร์เน็ตโดเมนขององค์กร และให้บริการแก่ผู้ใช้ภายในองค์กร

Web Server เพื่อให้บริการข้อมูลบน web site ขององค์กร โดยท่านจะใช้ server ของท่านเองเพื่อความคล่องตัว

สิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการ

1. ISDN Moderm
2. ISDN 1 คู่สาย
3. ISDN Router หรือ Computer เพื่อทำเป็น Proxy Server

สิ่งที่ เอเน็ต จัดเตรียมให้

1. โทรศัพท์ 1 คู่สาย และ Access Server 1 Post สำหรับการเชื่อมต่อจากท่าน
2. IP Address สำหรับ Server ของท่านที่จะใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูล
3. จดทะเบียนอินเทอร์เน็ตโดเมนสำหรับองค์กรท่าน (คิดค่าจดทะเบียน)

FTTH

FTTH
FTTH “Fiber to the Home คือระบบเส้นใยแสงที่จะทำการส่งผ่านข้อมูลจาก Central Office หรือชุมสายของผู้ให้บริการไปยังบ้านเรือนของผู้ใช้บริการ โดยศักยภาพตามมาตรฐานของ Fiber to the Home ใหม่ล่าสุดที่ใช้กันอยู่ปัจจุบันนี้ คือสามารถส่งข้อมูลไปถึงบ้านของเรา และส่งจากบ้านของเราไปยังชุมสายได้ความเร็วมากที่สุดถึงระดับ 2.5 Giga-bit per second (Gbps) หรือประมาณ 2,500,000,000 บิต / วินาที ถ้าจะให้เห็นภาพคือ ระบบบรอดแบนด์อินเตอร์เน็ตที่เราใช้อยู่ตามบ้านทุกวันนี้คือ ADSL อย่าง High speed Internet ที่บอกว่าความเร็ว 1 Mbps นั่นประมาณ 1,000,000 บิต / วินาที ก็จะเห็นว่า Fiber to the Home เร็วกว่าถึง 2,500 เท่า แล้วอย่างความเร็วของ High speed Internet ผ่านระบบ ADSL นั้น ในส่วนความเร็วของการ Upload นั้นจะต่ำกว่าความเร็วของการ Download แต่ถ้าเป็น Fiber to the Home ทั้ง upload download ความเร็วมากที่สุดจะเท่ากันคือ 2.5 Gbps นอกจากนั้น ADSL นี่สำหรับบ้านที่อยู่ไกลจากชุมสายมากจะได้ความเร็วน้อยลงไปอีก เนื่องจากใช้ข้อมูลที่อยู่ที่ความถี่สูงไม่สามารถวิ่งผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดาได้ระยะทางไกล โดยทั่วไปความเร็วของ ADSL จะพอรับประกันได้ในระยะไม่น่าจะเกิน 5 กิโลเมตร ฉะนั้นถ้าบ้านใครไกลจากชุมสายออกไปเกิน 5 กิโลเมตรก็จะใช้ความเร็วได้ไม่เต็มที่ แต่ Fiber to the Home จะรองรับระยะการส่งข้อมูลได้ไกลถึง 20 กิโลเมตรโดยความเร็วไม่ตกลง

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อดี ข้อเสียของ bus,stra,ring,mash และแบบทดสอบ 5ข้อ





โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
โทโปโลยีแบบบัส บางทีก็เรียกว่า Linear bus เพราะมีการเชื่อมต่อแบบเส้นตรงซึ่งเป็นลักษณะการเชื่อมต่อที่ง่ายที่สุด และเป็นโทโปโลยีที่นิยมกันมากที่สุดในสมัยแรกๆ
ลักษณะการส่งข้อมูล
การส่งข้อมูลบนเครือข่ายที่มีโทโปโลยีแบบบัสนั้นข้อมูลจะถูกส่งไปบนสายสัญญาณในรูปแบบของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสัญญาณนี้จะเดินทางไปถึงคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับสื่อกลางบัส แต่เฉพาะคอมพิวเตอร์เครื่องที่มีอยู่ตรงกับที่อยู่ของผู้รับที่อยู่ในข้อมูลเท่านั้น จึงจะนำข้อมูลนั้นไปทำการโพรเซสส์ต่อไป ส่วนเครื่องอื่นๆ ก็จะไม่สนใจข้อมูลนั้น เนื่องจากสายสัญญาณเป็นสื่อกลางที่ใช้ร่วมกัน ดังนั้นคอมพิวเตอร์แค่เครื่องเดียวเท่านั้นที่จะส่งข้อมูลได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง


ข้อดี
1.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
2.มีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว
3.ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ


ข้อเสีย

1.การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก
2.ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบ ทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้




โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)
โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology) นี้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า “ ฮับ” โดยการเชื่อมต่อแบบดวงดาวคือ เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องใดจะส่งข้อมูลก็จะส่งไปที่ฮับก่อน แล้วฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมเข้ากับฮับ

ข้อดี
- ง่ายในการให้บริการ
- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ
- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่าย

ข้อเสีย
-ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมาก
-ถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้



โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบเครือข่ายล่มเช่นกัน
การส่งต่อโทเคน (Token Passing)
วิธีที่จะส่งข้อมูลในโทโปโลยีแบบวงแหวนเรียกว่าการส่งต่อโทเคน โทเคนเป็นข้อมูลพิเศษที่ส่งผ่านในเครือข่ายแบบวงแหวน แต่ละเครือข่ายจะมีเพียงโทเคนเดียวเท่านั้น โทเคนนี้จะส่งต่อกันไปเรื่อยๆ สำหรับเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลเมื่อได้รับโทเคนแล้วก็จะมีสิทธิ์ที่จะส่งข้อมูล การส่งข้อมูลก็ทำได้โดยใส่ที่อยู่ของเครื่องรับไว้ในข้อมูลแล้วส่งต่อๆ กันไป เมื่อข้อมูลมาถึงเครื่องปลายทาง หรือเครื่องที่มีที่อยู่ตรงกับที่ระบุในเฟรมข้อมูล เครื่องนั้นก็จะนำข้อมูลไปโพรเซสส์ และส่งเฟรมข้อมูลตอบรับกลับไปยังเครื่องส่งเพื่อบอกให้ทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เมื่อเครื่องส่งได้รับการตอบรับแล้ว ก็จะส่งผ่านโทเคนต่อไปยังเครื่องถัดไป เพื่อเครื่องอื่นจะได้มีโอกาสส่งข้อมูลบ้าง
ข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology
ข้อดี
-ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Bus
-ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
-ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย
-ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้
-ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด



โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)
โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทางเดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยังเป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้น
โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)
ในการเชื่อมต่อจริงๆ นั้นการเชื่อมต่อแบบเมซนั้นมีการใช้งานน้อยมาก

ข้อดี ข้อเสียของโทโปโลยี
ข้อเสียก็คือการเชื่อมต่อหลายจุด แต่เนื่องจาก ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบเมซ
คือ การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าว คือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญเท่านั้น

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks)

ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamentel compuernetworks)

ระบบเครือข่ายหรือที่เราเรียกกันจนติดปากว่า LAN ( Local Area Network ) นั้นก็คือ การนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกัน เพื่อต้องการให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้น สามารถที่จะส่ง หรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ แล้วทำไมเราต้องใช้ระบบเครือข่ายละ ลองนึกดูว่าแต่ก่อนเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง การทำงานต่าง ๆ ก็ยังคงอยู่ที่เครื่องเดียว แต่ในองค์กร หรือตามบ้านเองก็ตามแต่ หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่สองเพิ่มขึ้นมา ความต้องการในการ ที่จะต้องมีการนำข้อมูลจากเครื่องหนึ่ง มายังอีกเครื่องหนึ่งคงหนีไม่พ้น เป็นแน่ หาเป็นแรก ๆ ที่ยังไม่มีระบบเครือข่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง ก็คงใช้ Diskette ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่อง และนั่นแหละคือความยุ่งยาก น่าเบื่อหน่าย และความไม่สะดวกต่าง ๆ ในการทำงาน ลองนึกภาพดูแล้วกันว่าหากว่าต้องการ Copy File ที่มีขนาดใหญ่กว่าความจุของแผ่น Diskette เราก็ไม่สามารถที่จะทำการ Copy ได้ และนั่นแหละ เขาก็เลยต้องหาวิธีการต่าง ๆ มาทำให้เครื่องสองเครื่องหรือมากกว่า สามารถที่จะส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยการนำเอาสายสัญญาณมาทำการเชื่อม ต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นสามารถที่จะส่งสัญญาณหากันได้โดยผ่านระบบสายสัญญาณต่าง ๆ ที่นำมาเชื่อมต่อ และรูปแบบในการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อนี้ก็มีหลายรูปแบบ และบางคนอาจจะสงสัยเกี่ยวกับคำว่า Ethernet คืออะไร เพราะว่าเป็นคำพูดที่ได้ยินบ่อย ๆ อธิบายนิดหนึ่งแล้วกัน คำว่า Ethernet เป็นคำเรียกที่ใช้เรียกระบบเครือข่าย ที่มีการส่งข้อมูลกันที่ความเร็ว 10Mbps ถ้าเป็นคำว่า Fast Ethernet ก็จะหมายถึงเป็นการส่งข้อมูล ของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps และถ้าเป็นคำว่า Gigabit Ethernet ก็จะหมายถึงความเร็วในการส่งข้อมูลที่ 1000Mbps หรือ 1Gbps ซึ่งการส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายในปัจจุบันนี้ใช้ โปรโตคอลที่เรียกว่า CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) ปัจจุบันนี้ระบบเน็ตเวิร์ก หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์และองค์กร และสถาบันการศึกษาไปแล้ว การใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งไฟล์ เครื่องพิมพ์ การส่ง E-mail ภายในองค์กรหรือ ระบบอินทราเน็ต การเชื่อมต่อระยะไกลด้วยระบบ Remote Access การประชุมผ่านวีดีโอ (Video Conference) สิ่งเหล่านี่ต้องใช้ระบบเน็ทเวิร์กเป็นพื้นฐานในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันทั้งสิ้น ระบบเน็ทเวิร์กจะหมายถึงการนำคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน เพื่อที่จะทำการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน ระบบเน็ทเวิร์กสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกันคือ1. LAN ( Local Area Network )คือเครือข่ายเฉพาะกลุ่มที่มีขนาดเล็กๆ หรือระยะทำการไม่ไกลนัก เช่นเครือข่ายภายในออฟฟิศหรือสำนักงาน มีระยะทำการใกล้ๆ และมักเชื่อมต่อกันด้วยความเร็วสูง เครือข่ายนี่ยังถูกนำมาใช้เป็นเครือชข่ายในบ้านอีกด้วย2. MAN ( Metropolitan Area Network )ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นเน็ทเวิร์กที่ต้องใช้โครงข่ายของการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อสื่อสาร กันในเมืองหรือในระดับ LAN to LAN3. WAN (Wide Area Network )เป็นเครือข่ายสำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ หรือเครือข่ายคนละชนิดที่อยู่ห่างไกลกันมากๆ เช่น คนละจังหวัด หรือคนละประเทศเข้าด้วยกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดคือเครือข่ายที่เรียกว่า "อินเตอร์เน็ท" นั้นเอง จะต้องใช้มีเดีย( Media ) ในการสื่อสารขององร์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up line/ คู่สายเช่า leased line/ISDN* )(* Integrated Service Digital Network สามารถส่งข้อมูลให้ทั้งข้อมูลเสียงและภาพ ในเวลาเดียวกัน)โครงสร้างของระบบเครือข่าย ภาษาเทคนิคเรียกว่า(Topology) เป็นลักษณะการเชื่อมต่อทางกายภาพระหว่างเครืองคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซึ่งแบ่งออกตามหลักวิชาการตั้งแต่สมัยก่อนนั้น แบ่งได้เป็น 4 แบบ คือโครงสร้างแบบบัส (Bus Topology)โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Topology)โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology)โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology)1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทำให้โครงสร้างแบบนี้มีจุดอ่อนก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทำให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้ก็คือไม่ต้องมีอุปกรณ์อย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ ใช้สายเพียงเส้นเดียวก็เพียงพอแล้ว โครงสร้างแบบนี้จึงเหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กที่มีจำนวนเครื่องไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว เนื่องจากไม่ได้มีการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมเลย ความเร็วก็เพียง 10 Mbps2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network) ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนย์กลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบี้มีประโยชน์คือ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทำงานของระบบ นอกจากนี้ถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้เป็นศูนย์กลางคือ ฮับ/สวิทช์ ราคาได้ถูกลงอย่างมากแล้วในขณะที่ประสิทธิภาพก็ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนในปัจจุบันเป็นความเร็วขนาดกิกาบิตแล้ว3. โครงสร้างแบบริง (Ring Network) ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะวงแหวน การส่งข้อมูลจะเป็นแบบทิศทางเดียว ซึ่งถ้าส่งไปแล้วไม่ตรงกับคอมพิวเตอร์เครื่องรับตามที่เครื่องต้นทางระบุมา ก็จะส่งไปยังเครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงปลายทางคือตรงกับเครื่องใครก็จะรับ ไม่ส่งต่อ จุดอ่อนของระบบก็คล้ายๆแบบบัส ปัจจุบันผมยังเห็นใช้อยู่ในธนาคาร พวก Mainfram IBM AS/400 เป็นต้น4. โครงสร้างแบบผสม (Hybird Network) ลักษณะสุดท้ายของของโครงสร้างแบบนี้ก็คือการนำเครือข่ายๆ ย่อยๆ ที่มีโครงข่ายตามแบบที่ผมกล่าวข้างต้นทั้ง สามแบบมารวมกัน หรือ เชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะแบบนี้ยังมีชื่อเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree หรือ Hierachical หรือ Mesh) ก็คือเครือข่ายผสมที่เกิดจากการนำเอาเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบบัสและแบบสตาร์มาผสมกัน หรือโครงสร้างแบบไร้รูปแบบ (Mesh) ซึ้งก็คือโครงสร้างแบบสตาร์ผสมกับบัสที่เชื่อมต่อกันแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน5. โครงสร้างเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network) ที่กล่าวมาทั้งหมดเกี่ยวกับโครงข่ายข้างต้นนั้น เป็นโครงสร้างที่ใช้กันสำหรับเครือข่ายแบบใช้สายแต่เนื่องจากปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบใหม่เกิดขึ้นมา ที่เรียกว่าเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless) จะใช้คลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมูล จึงทำให้แตกต่างกันออกไป และโครงสร้างแบบนี้ได้แบ่งเป็น 2 แบบ คือ Peer-to-Peer และ Client Server นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือหรือ Cellular Network ซึ่งจัดอยู่ในรูปแบบโครงสร้างแบบไร้สายด้วย ลักษณะจะคล้ายๆเป็นรูปรังผึ้งเทคโนโลยีของระบบเครือข่าย เป็นรูปแบบการสื่อสาร(Ethernet) ในระบบเน็ทเวิร์กหรือที่เราเรียกว่า โปรโตคอล(Protocal) ในระบบแลน ซึ้งในเนื้อหานี่ผมจะกล่าวถึงความหมายของมาตราฐาน IEEE และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Ethernet และ Protocal รวมทั้งความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์เครือข่ายเบื้องต้นโปรโคตอลมาตรฐานสำหรับเครือข่ายIEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) และ EIA ( Electronics-Industries association) เป็นหน่วยงานสากลที่มีหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานของการออกแบบผลิตภัตณ์อิเล็กทรอนิกส์ กำหนดรูปแบบการสงสัญญาณ ฯ จะมีโปรโตคอลอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือARCnetEthernetToken Ring ARCnet เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท Data Point ประมาณปี 1977 ( Attached ARCnet Resource Computing Network) ใช้หลัการออกแบบ "Transmission Permission" ในการส่งข้อมูล จำมีการกำหนดตำแน่งแอดเดรสของเครื่องเวิร์กสเตชั่นลงไปด้วย สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus และ Star มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลเพียง 2.5 Mbps (2.5 เมกกะบิตต่อวินาที) ทำให้ไม่เป็นที่นิยมมากนักEthernetเป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยปริษัท Xerox ประมาณปี 1970 ใช้หลักการทำงานแบบ CSMA/CD ( Carrier Sense Multiple Access With Collision Detection) ในการส่งแมสเซจไปบนสายสัญญาณของระบบเครือข่าย ถ้าหากมีการส่งออกมาพร้อมกันย่อมจะเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ของสัญญาณทำให้การส่งผ่านข้อมูลต้องหยุดลงทันที CSMA/CS จะใช้หลักการวิธีของ Listen vefore-Transmiting คือ ก่อนจะส่งสัญญาณออกไปจะต้องตรวจสอบว่าในขณะนั้นมีการ รับ - ส่ง ข้องข้อมูลในเน็ทเวิร์กนั้นหรือไม่ ถ้ามีการชนกันของข้อมูล ต้องรอจนกว่าสายเคเบิ้ลนั้นจะว่างแล้วจึงทำการส่งข้อมูลนั้นออกไปบนสายเคเบิ้ล ระบบโปรโตคอล Ethernet นั้นเป็นมาตาฐานของ IEEE 802.3 สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้ง Bus และ Star โดยใช้สายโครแอ๊ก (Coaxial) หรือสาทองแดงคู่ตีเกลียว (UTP : unsheild Twisted Pair ) ที่มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 10 Mbps ในปัจจุบันได้พัฒนาความเร็วเป็น 100 Mbps มีความยาวสูงสุดระหว่างเรื่องเวิร์กสเตชั่น 2.0 กิโลเมตร ในการส่งผ่านสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ไปบนสายเคเบิ้ลจะใช้แบบ 0-1 ในการส่งผ่านไปบนสายเคเบิ้ล Ethernet มีรูปแบบการต่อสายเคเบิ้ล 3 แบบด้วยกันคือ 10 Bese T เป็นรูปแบบในการต่อสายที่นิยมมาก "10" หมายถึงความเร็วในการรับส่งข้อมูล (10 Mbps) "Base" หมวยถึง ลักษณะการส่งข้อมูลแบบ Base band ซึ่งเป็นดิจิตอล และ T หมายถึง Twisted Pair (สายทองแดงคู่ตีเกลียว) ปัจจุบันจะใช้สาย UTP ( Unshield Twisted Pair ) ซึ่งจะเป็นสายที่มีขนาดเล็กๆ ถายใน 8 เส้นตีเกลียวคู่กัน 4 คู่ 10 Base 2 เป็นรูปแบบในการต่อสายโดยใช้สาย Coaxial มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial สายมีความยาว ไม่เกิน 180 เมตร 10 Base 5 เป็นรูปแบบในการเชื่อมต่อโดยใช้สาย Coaxial ขนาดใหญ่ จะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว เรียกว่าสาย Thick Coaxial การเชื่อมต่อในแต่ล่ะจุดจะมี Transceiver เป็นตัวเชื่อมต่อ และใช้สาย AUI เชื่อมระหว่างเครื่องเวิร์กสเตชั้น สายมีความยาวไม่เกิน 500 เมตร Token Ring เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท IBM ใช้มาตรฐานของ IEEE 802.5 มีระบบการติดต่อแบบ Token-Passing สามารถจะเชื่อมต่อได้แบบ Ring และ Star มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 4/16 Mbps นอกจากนี้ยังสามารถที่จะเชื่อมต่อเข้ากับฮาร์ดแวรืและซอร์ฟแวร์ของเครื่องเมนแฟรมได้โดยตรง จากปัญหาที่เกิดการชนกันของข้อมูล (Conllision) ทำให้ IBM หันมาใช้สัญญาณ Token เพื่อการติดต่อระหว่าโหนด นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีในได้ถูกพัฒนาให้มีความสามารถมากกว่าการทำงานในระบบแลนจากที่กล่าวมาในข้างต้นก็คือ ไฟเบอร์ออฟติก และ เอทีเอ็มFDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI (Fiber Distributed Data Interface) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่ได้รับความนิยมไปใช้งานสูงเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน โดยนำไปใช้ในลักาณะการเชื่อมต่อเป็น Backbone ( ใช้เป็นสายสัญญาณหลักเชื่อมระหว่างเครือข่าย LAN) เทคโนโลยีนี้สามารถให้ความเร็วในการรับ/ส่งข้อมูลสุงถึง 1000 Mbps จึงมักใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เข้ากับคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงATM (Asynchronous Transfer Mode) ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นเทคโนโลยีเน็ทเวิร์กความเร็วสูงที่พัฒนาโดย (CCITT Consultative Committee for Internation Telegraph and Telophone) ประมาณปลายปี 1991 จะใช้เส้นใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ในการทำงานเหมือนกับ FDDI แต่ ATM ใช้หลักการสวิตชิงในการทำงานมีแบนวิธสูง ถูกออกแบบมาสำหรับงานด้สนสารสนเทศในการขนส่งช้อมูลและเสียงที่ขนาดเล็กว่าเซลล์ข้อมูลจะมีส่วนหัวของเซลล์ คือ 5 ไบต์ หรือ 40 บิต ส่วนข้อมูลที่จะส่งอีก 48 ไปต์รวมเป็น 53 ไบต์ เท่านั้น เซลล์จะมีอยู่สองกลุ่มด้วยกันคือ UNI (User Network Interface) ใช้ในการ เชื่อมต่อกับผู้ใช้ และ NNI (Network Node Interface) ใช้ในการเชื่อมต่อกับโหนด ATM สามารถจะใช้งานได้ทั้งบนระบบ LAN และ WAN มีอัตราความเร็วขนาด 25 - 155 Mbps หรือมากกว่านี้ Hub หรือ Concentrator ที่ใช้งานบนระบบ ATM จึงเป็นสวิตท์ที่มีความเร็วสูงเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้แบบ Real time ได้ดี เทคโนโลยี ATM เทคโนโลยี ATM จึงเป็นคู่แข่งของ FDDI ในระบบเน็ทเวิร์ความเร็วสูงแหล่งที่มาระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks)Question: ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks). > ระบบเครือ ข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks). Slide15_resize.GIF ...www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=185 - 27k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

Windows Server 2003

Windows Server 2003
เป็น
ระบบปฏิบัติการเซิร์ฟเวอร์จากไมโครซอฟท์ เป็นรุ่นที่ถัดจากวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งนับเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ Windows Server System ภาพรวมวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องความปลอดภัย โดยเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก เช่นหลังจากการตั้งแต่ติดตั้งเสร็จนั้น ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิดการใช้งานเพื่อลดช่องทางโจมตีตั้งแต่แรกเริ่ม และได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขึ้นมาใหม่หมด เพื่อเพิ่มความปลอดภัยประสิทธิภาพการทำงานในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ "ลองฮอร์น" ซึ่งจะเป็นรุ่นต่อจากวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 โดยมีกำหนดการที่จะออกครึ่งปีแรกใน พ.ศ. 2550วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ได้แบ่งเป็นรุ่นดังนี้:Windows Small Business Server 2003Windows Server 2003 Web EditionWindows Server 2003 Standard EditionWindows Server 2003 Enterprise EditionWindows Server 2003 Datacenter EditionWindows Compute Cluster Server 2003แหล่งที่มาวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 - วิกิพีเดียวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003) เป็นระบบปฏิบัติการเซิร์ฟเวอร์จาก ไมโครซอฟท์ เป็นรุ่นที่ถัดจากวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ...th.wikipedia.org/wiki/วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์_2003 - 58k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกันเขียนโดย POKPOLO ที่ 8:18 หลังเที่ยง 0 ความคิดเห็น

IP Address

IP Address
IP Address คือ หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้นมาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็นมาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 วึ่งกำหนดให้ ip address มีทั้งหมด32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลขที่เราเห็นยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้1. Network Address หรือ Subnet Address2. Host Addressบนเครื่อง computer ที่ใช้ TCP/IP Protocol จะมีหมายเลข IP Address กำกับอยู่ address นี้ เป็นอยู่ใน Layer 3 ของ OSI model ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (Logical address) และบนเครื่อง computerไม่ว่าจะใช้ Protocol ใด ๆ ก็ตามจะต้องมีหมายเลข ที่เรียกว่า MAC Address ประจำอยุ่ที่ Network card เสมอ MAC Address นี้เป็น Hardware Address ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เว้นแต่จะเปลี่ยน Network cardแหล่งที่มา
http://mail.nrct.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=123IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด ... เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข ...mail.nrct.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=123 - 46k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

ข้อสอบ windows server 2003

ข้อสอบ คำสั่งเบื้องต้น Linux,Unix
1.คำสั่งสำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่
ก.ls
ข.cd
ค.pwd
ง.file

2.คำสั่งสำหรบการลบไฟล์
ก.mv
ข.rm
ค.chown
ง.mkdir

3.คำสั่งสำหรับสร้างไดเร็คทอรี่
ก.mv
ข.rm
ค.chown
ง.mkdir

4.คำสั่งสำหรับยกเลิก process
ก.ps
ข.kill
ค.fg
ง.bg

5.คำสั่งเปลี่ยนเจ้าของไฟล์
ก.ls
ข.pwd
ค.chown
ง.mv

6.คำสั่งแสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
ก.ln
ข.env
ค.eject
ง.free

7.คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่าน User
ก.mount
ข.mt
ค.nice
ง.netstat

8.คำสั่งแสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี
ก.od
ข.pr
ค.df
ง.env

9.คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ
ก.tar
ข.bc
ค.Dd
ง.Du

10.คำสั่งไว้สร้างลิงค์ไปยังที่ต่างๆ
ก.ln
ข.jobs
ค.fg
ง.ftp

เฉลย
1.ข.cd
2.ข.rm
3.ง.mkdir
4.ข.kill
5.ค.chown
6.ง.free
7.ข.mt
8.ก.od
9. ข.bc
10. ก.ln


ข้อสอบ ระบบเครือข่าย
1.ข้อใดเป็นวิธีการกำหนดให้มีการส่งและรับข้อมูลด้วยอัตราคงที่
ก. AAL1
ข. AAL2
ค. AAL3 / 4
ง. AAL5

2.เครือข่ายอย่างง่ายที่สุดของ ATM ประกอบด้วยชิ้นส่วนเครือข่ายอะไรบ้าง
ก. ATM Switch
ข. ATM end point
ค. ถูกเฉพาะข้อ ก.
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.

3.เครือข่าย ATM ใช้อะไรเป็นมาตรฐาน
ก. สัญญาณคลื่นวิทยุ
ข. คลื่นไฟฟ้า
ค. โปรโตคอล
ง. สัญญาณคลื่นแม่เหล็ก

4. ระบบเครือข่าย ATM เป็นระบบแบบใด
ก. ระบบไร้สาย
ข. ระบบเคลื่อนที่
ค. ระบบแบบสวิตซ์
ง. ระบบเปิด ปิด

5. HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่อะไร
ก. สำรวจข้อมูล
ข. จัดเก็บข้อมูล
ค. ตรวจสอบข้อมูล
ง. จัดส่งข้อมูล

6. ข้อใดคือสิ่งที่สามารถใช้ในเครือข่าย ATM
ก. สายโคแอคเชียล
ข. สายไฟเบอร์ออปติค
ค. สายไขว้คู่
ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติที่ดีของโปรโตคอล ATM
ก. ไม่มีการกำหนดเส้นทางข้อมูลตายตัว (วงจรเสมือน)
ข. ไม่มีความผิดพลาดในการลิงค์กันระหว่างสถานี
ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
ง. ใช้วงจรเสมือนทำให้การสวิตชิ่งมีความซับซ้อนน้อย และประหยัดซอฟต์แวร์ในการช่วยจัดเส้นทางข้อมูล

8.การเชื่อมต่อแบบใด ถ้าเคเบิลอันหนึ่งอันใดมีปัญหาแล้ว จะทำให้ระบบมีปัญหาทั้งหมด
ก. BUS
ข. RING
ค. STAR
ง. BUS และ RING

9.ข้อใดเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง สำหรับเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ก. HUB
ข. SWITCH
ค. ROUTER
ง. ถูกทั้ง ก.และ ข.

10. 255.255.255.0 จำนวน HOST คือ
ก. 256 host
ข. 254 host
ค. 252 host
ง. 250 host

เฉลย
1. ก. AAL1
2. ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
3. ค. โปรโตคอล
4. ค. ระบบแบบสวิตซ์
5. ค. ตรวจสอบข้อมูล
6. ง. ถูกทุกข้อ
7. ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
8. ง.BUS และ RING
9. ง.ถูกทั้ง ก.และ ข.
10. ข.254 host




ข้อสอบ IPv4
1.IPv4 เป็นระบบที่ใช้กี่บิต
ก. 8 bit
ข. 16 bit
ค. 32 bit
ง. 64 bit
2.subnet mask ของ class A คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ

3. subnet mask ของ class B คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ

4. subnet mask ของ class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ

5.mask 3 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 5 subnet
ข. 6 subnet
ค. 7 subnet
ง. 8 subnet

6.mask 3 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 20 host/sub
ข. 25 host/sub
ค. 30 host/sub
ง. 35 host/sub

7.mask 4 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 11 subnet
ข. 12 subnet
ค. 13 subnet
ง. 14 subnet

8.mask 4 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 14 host/sub
ข. 15 host/sub
ค. 16 host/sub
ง. 17 host/sub

9.mask 5 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 28 subnet
ข. 29 subnet
ค. 30 subnet
ง. 31 subnet

10.mask 5 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 9 host/sub
ข. 8 host/sub
ค. 7 host/sub
ง. 6 host/sub

เฉลย
1. ค. 32 bit
2. ก. 255.0.0.0
3. ข. 255.255.0.0
4. ค. 255.255.255.0
5. ข. 6 subnet
6. ค. 30 host/sub
7. ง. 14 subnet
8. ก. 14 host/sub
9. ค. 30 subnet
10. ง. 6 host/sub



ข้อสอบ windown server 2003

1. โปรแกมที่ใช้ ติดตั้งระบบปฏิบัติการเสมือนมีชื่อว่า จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด
ก. VM WARE
ข. VM WARK
ค. VM Whare
ง ไม่มีข้อถูก

2. RAM ควรมีขนาดเริ่มต้นเท่าใด สำหรับ Windows server 2003
ก. 124 mb
ข. 128 mb
ค. 254 mb
ง. 1 gb

3. คำว่า Windows หมายถึง
ก.ประตู
ข.หน้าต่าง
ค.บานเกล็ด
ง.เพดาน

4. ข้อใดคือ ชื่อย่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ของ Windows server 2003
ก. IIS
ข. SSI
ค. ISS
ง. ไม่มีข้อถูก

5. Windows server 2003 รองรับการมีเซิร์ฟเวอร์ได้ ไม่เกินกี่เครื่อง
ก. 5 เครื่อง
ข. 6 เครื่อง
ค. 7 เครื่อง
ง. 8 เครื่อง
6 ถ้าเราติดตั้ง Windows server 2003 จากซีดีควรเลือกคำสั่งใดต่อไปนี้
ก. boot from CD drive
ข. boot from UHB drive
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อถูก

7. Windows Server 2003 x64 Editions คือ
ก. ทำงานร่วมกับโพรเซสเซอร์ x64
ข. การประมวลผลแบบ 64
ค. ข้อ ข.ถูก
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

8. DFN ย่อมาจากอะไรต่อไปนี้
ก. Distributed File System
ข. Distribute File Systems
ค. Systems Distribute File
ง. ไม่มีข้อถูก

9. Terminal Services มีประโยชน์อย่างไร
ก. เพื่อรันโปรแกรม
ข. เพื่อรันแอพพลิเคชั่น
ค.รักษาความปลอดภัย
ง. ถูกทุกข้อ

10. Computer Server หมายถึง
ก. Computer ที่เป็นลูกข่าย
ข. Computer ที่เป็นแม่ข่าย
ค. ระบบปฏิบัติการ
ง. Computer ที่เป็น mainframe

เฉลย
1. ก.VM WARE
2.ข.128 mb
3. ข.หน้าต่าง
4. ก. IIS
5. ง. 8 เครื่อง
6. ก. boot from CD drive
7. ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
8. ก. Distributed File System
9. ข.เพื่อรันแอพพลิเคชั่น
10.ข. Computer ที่เป็นแม่ข่าย